วันพฤหัสบดีที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2555

ความเข้าใจผิดเกี่ยวกับวิธีทำความสะอาดคอนแทคเลนส์

ความเข้าใจผิดเกี่ยวกับวิธีทำความสะอาดคอนแทคเลนส์

ความสะอาดของคอนแทคเลนส์เป็นสิ่งสำคัญมาก นึกดูว่าเพียงแค่มีเศษผงเล็กๆ เข้าตา ยังทำให้แสบตาจนน้ำตาไหล แต่คอนแทคเลนส์ต้องสัมผัสติดกับดวงตา โดยตรงเป็นเวลาหลายชั่วโมงต่อวัน หากสะอาดไม่เพียงพอ จะมีผลเสียต่อดวงตา มากมายเพียงใด


คอนแทคเลนส์ ไม่ได้แปลว่าห้ามถู ความจริงแล้วแปลว่า ไม่ต้องถูก็พออนุโลมได้ 
มีรายงานวิจัยบอกว่า การถูอย่างเดียวลดเชื้อโรคได้ 95% ส่วนเชื้อโรคที่เหลือ
5% น้ำยาแช่สามารถกำจัดได้ นากจากนี้ การถูยังช่วยลดคราบจุลินทรีย์
(Biofilm) ที่เกาะผิวเลนส์ได้ด้วย

ดังนั้น การทำความสะอาดคอนแทคเลนส์ที่ถูกต้อง คือ  ต้องถูด้วยน้ำยา
ทำความสะอาดคอนแทคเลนส์ แล้วจึงแช่เลนส์นั้นในน้ำยาแช่คอนแทคเลนส์

มีรายงานวิจัยบอกว่า การถูอย่างเดียวลดเชื้อโรคได้ 95% ส่วนเชื้อโรคที่เหลือ
5% น้ำยาแช่สามารถกำจัดได้ นากจากนี้ การถูยังช่วยลดคราบจุลินทรีย์
(Biofilm) ที่เกาะผิวเลนส์ได้ด้วย
ดังนั้น การทำความสะอาดคอนแทคเลนส์ที่ถูกต้อง คือ  ต้องถูด้วยน้ำยา
ทำความสะอาดคอนแทคเลนส์ แล้วจึงแช่เลนส์นั้นในน้ำยาแช่คอนแทคเลนส์

ดังนั้น การทำความสะอาดคอนแทคเลนส์ที่ถูกต้อง คือ  ต้องถูด้วยน้ำยา
ทำความสะอาดคอนแทคเลนส์ แล้วจึงแช่เลนส์นั้นในน้ำยาแช่คอนแทคเลนส์

ทำความสะอาดคอนแทคเลนส์ แล้วจึงแช่เลนส์นั้นในน้ำยาแช่คอนแทคเลนส์
ความจริงแล้ว น้ำเกลือไม่มีฤทธิ์ฆ่าเชื้อ แต่น้ำเกลือจะทำให้เชื้อโรคโตเร็วขึ้น 
แทนที่จะฆ่าเชื้อ กลายเป็นเพาะเชื้อตลอด 8-10 ชั่วโมงที่เราไม่ได้ใส่เลนส์
ในรายที่เซ้นสิทีฟกับน้ำยาฆ่าเชื้อโรค หรือใช้น้ำเหลือในการล้างทิ้ง

รับคำแนะนำจากจักษุแพทย์และศึกษาข้อมูลให้ถี่ถ้วน หากมีปัญหาควรหยุดใช้
แล้วพบจักษุแพทย์ทันที
การทำความสะอาดคอนแทคเลนส์ มีคนจำนวนมากเข้าใจผิดว่าใช้วิธีแช่เพียง อย่างเดียวก็ได้ เพราะ ข้อความ No Rub ในคำแนะนำการใช้ข้างกล่อง
อีกเรื่องที่เข้าใจผิดกันมาก คือ การแช่เลนส์ไว้ในน้ำเกลือช่วยฆ่าเชื้อโรคได้ 
การใช้น้ำเกลือที่ถูกต้อง คือ ใช้น้ำเกลือในการล้างน้ำยาที่ใช้ฟอกถูเลนส์ หากใช้และดูแลผิดวิธีคอนแทคเลนส์จะเป็นอันตรายต่อดวงตา ก่อนใช้ควร



ที่มา : นิตยสารชีวจิต ปีที่ 12 ฉบับ 1 ก.ย. 2553 คอลัมน์
คนไข้ถาม คุณหมอตอบ ทุกปัญหาคอนแทคเลนส์คนทำงาน
โดย นายแพทย์คำนูณ อธิภาส จักษุแพทย์ประจำคลินิก ศูนย์แพทย์พัฒนา
รวบรวมข้อมูลโดย: งานพัฒนาและจัดการสารสนเทศ ฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศห้องสมุด

ฐานข้อมูลออฟไลน์ CD-ROM (เกี่ยวกับด้านวิทยาศาสตร์)

MARINE CYCLOPEDIA CD-ROM Volume 




MARINE CYCLOPEDIA CD-ROM Volume 1 เป็นสื่อสารสนเทศทางทะเลในรูปแบบมัลติมิเดีย (ภาพเสียงและคำบรรยายภาษาไทย) ที่จัดทำขึ้นเพื่อให้นักเรียน นิสิต นักศึกษาและประชาชนทั่วไป ที่ต้องการศึกษาหาความรู้ทั่วไป เกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพของทะเลและมหาสมุทร ทั้งในส่วนของทะเลรอบโลก อ่าวไทยและทะเลอันดามัน คุณสมบัติของน้ำทะเลสิ่งมีชีวิตใต้ทะเลและชายฝั่ง รวมถึงการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศกับการสำรวจทางทะเลในรูปแบบต่างๆ นอกจากนี้ยังประกอบด้วยข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการแนะแนวการศึกษาแหล่งงานและ สาขาอาชีพที่เกี่ยวข้องกับงานทางด้านวิทยาศาสตร์ทางทะเลอีกด้วย
ประโยชน์ของผลงาน
    เป็นโสตทัศนวัสดุ ในรูปแบบมัลติมิเดีย เพื่อให้ความรู้ด้านสารสนเทศทางทะเล แก่ นักเรียน นิสิต นักศึกษา และประชาชนทั่วไป
การจำแนกการนำไปใช้ประโยชน์
    การศึกษา-เรียนรู้-สร้างความตระหนัก ว&ท
สาขาผลงาน : โสตทัศนวัสดุ
ชื่อผู้ผลิตผลงาน : 
สำนักภูมิสารสนเทศ
สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ องค์การมหาชน



หน่วยงานรับผิดชอบ :          สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)
                ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550
                เลขที่ 120 หมู่ 3 อาคารรวมหน่วยราชการ (อาคาร B) ชั้น 6 และชั้น 7
                ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210
                โทรศัพท์ 0-2141-4470
                โทรสาร 0-2143-9586
                เว็บไซต์ http://www.gistda.or.th




ฐานข้อมูลออฟไลน์



ฐานข้อมูลออฟไลน  (Offline Datdbase)  



หมายถึง ฐานข้อมูลที่จัดเก็บสารเทศที่จัดเก็บสารสนเทศ

ในสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ต่างๆ เช่น  ซีดีรอม (CD-Rom)

 การปรับปรุง และเรียกใช้งานฐานข้อมูลไม่สามรถทำได้ตลอดเวลา

ฐานข้อมูลออนไลน์ทางด้านวิทยาศาสตร์


ฐานข้อมูลออนไลน์ทางด้านวิทยาศาสตร์

1.ฐานข้อมูล ScienceDirect 

เป็นฐานข้อมูลที่ให้ทั้ง Full Text และAbstract ครอบคลุมวารสารสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์    24 สาขาวิชา จากวารสารประมาณ 1,960 รายชื่อ ให้ข้อมูลตั้งแต่ปี 1995 - ปัจจุบันเข้าสู่หน้าจอฐานข้อมูล ScienceDirect
1. เข้าใช้ผ่านหน้าจอสำนักหอสมุด       URL: http://www.lib.mut.ac.th
2. เข้าใช้จาก URL: http://www.sciencedirect.comหน้าจอฐานข้อมูล ScienceDirect





2.ฐานข้อมูล pubmed 

เป็นฐานข้อมูลที่ครอบคลุมด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ ชีวเวชศาสตร์ และบางส่วนของวิทยาศาสตร์ทั่วไปที่เกี่ยวข้อง www.pubmed.orgฐานข้อมูล:PubMed (ฐานข้อมูลด้านวิชาแพทย์ศาสตร์ และสาขาที่เกี่ยวข้อง)หมวดหมู่ :ฐานข้อมูลบทความวิชาการและวิทยานิพนธ์ (e-Thesis)
URL :http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmedรายละเอียด :PubMed เป็นระบบบริการสืบค้นข้อมูลหนึ่งของ National Library of Medicine (NLM) มีเนื้อหาครอบคลุม บทความวิจัยทางด้านการแพทย์ พยาบาลศาสตร์ ทันตแพทยศาสตร์ สัตวแพทย์ศาสตร์ สาธารณสุขศาสตร์ และสาขาวิชาทางด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ทั้งหมดจากวารสารชีวการแพทย์จากทั่วโลก จำนวนกว่า 4,000 ชื่อ ทั้งจากสหรัฐอเมริกา และประเทศต่างๆ กว่า 70 ประเทศ ข้อมูลจะประกอบด้วยรายการบรรณานุกรม ที่ได้จากฐานข้อมูล MEDLINE และมีการเชื่อมโยงต่อไปยังฐานข้อมูลทางด้าน molecular biology อื่นๆ ในระบบ NCBI's Entrez retrieval system ด้วย 


3.ฐานข้อมูล ACS 

เป็นฐานข้อมูลวารสารอิเล็กทรอนิกส์ที่ให้ข้อมูลบรรณานุกรมและสาระสังเขปของวารสารด้านเคมี และสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง ของสำนักพิมพ์ American Chemical Society ACS Publications เป็นฐานข้อมูลวารสารอิเล็กทรอนิกส์ที่ให้ข้อมูลบรรณานุกรมและสาระสังเขปของวารสารด้านเคมี และสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง ของสำนักพิมพ์ American Chemical Society จำนวน 36 ชื่อ ผู้ใช้บริการสามารถอ่านเอกสาร ฉบับเต็ม(Full text) ตั้งแต่ปี1996-ปัจจุบัน จากวารสารจำนวน 24 ชื่อดังนี้1.       Accounts of Chemical Reseach                           13.Journal of Agricultural and Food Chemistry
2.       Analytical Chemistry                                                               14.Journal of the American Chemical Society
3.       Biochemistry                                                                              15.Journal of Chemical and Engineering Data
4.       Bioconjugate Progress                                           16.Journal of Chemical Information and Computer Science                 
5.    Biotecnology Progress                                           17.Journal of Medicnal Chemistry
6.    Chemical Research in Toxicology                       18.Journal of Natural Produts
7.    Chemical Reviews                                                    19.Journal of Organic Chemistry
8.    Chemistry of Materials                                          20.Journal of Physical Chemistry A&B
9.    Energy and Fuels                                                      21.Langmuir
10.  Environmental Science and Technollogy        22.Macromolecules
11.  Industrial & Engineering Chemistry Research              23.Organic Process Research and Development
12.  Inorganic Chemistry                                                                24.Organometallics
 วิธีการเข้าใช้ฐานข้อมูล1. เข้าเว็บไซต์ของงานเอกสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์ คลิกที่ วารสารอิเล็กทรอนิกส์(Electronic Journal)เลือกฐานข้อมูล ACS       Publication
2. หรือระบุ URL: http://pubs.acs.comการสืบค้นข้อมูลสามารถสืบค้นได้ 2 ทางเลือก คือ1.       สืบค้นโดยใช้ชื่อวารสาร/นิตยสาร(Journals&Magazines)
ตัวอย่างการหา Full text เรื่อง Functionalization of the Sugar Moiety of Oligoribonucleotides on Solid Support ของ Xiaollin Wu and Stefan Pitsch ในวารสาร Bioconjugate Chemistry volume 10 No.6 หน้า 921-924
  

  จากหน้าเว็บไซต์ ACS Publications เลือก Journals&Magazines





4.ฐาน Web of Science 

ป็นฐานข้อมูล บรรณานุกรมและสาระสังเขป ที่ครอบคลุมสาขาวิชาหลัก ทั้งวิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์  http://isiknowledge.comชื่อฐานข้อมูล : ISI Web of Scienceช่วงปีของข้อมูล : ตั้งแต่ปี 2001 - ปัจจุบันรายละเอียดฐานข้อมูล : เป็นฐานข้อมูลอ้างอิง (Citation Database) ที่ให้ข้อมูลบรรณานุกรมพร้อมด้วย บทคัดย่อ รายการอ้างอิง (Cited Reference) และรายการอ้างถึง (Citing Article) ซึ่ง ครอบคลุมในสาขาวิทยาศาสตร์ เช่น เคมี ฟิสิกส์ วิศวกรรม เป็นต้น สาขาสังคมศาสตร์ เช่น จิตวิทยา บริหารธุรกิจ เป็นต้น และสาขาศิลปศาสตร์และมนุษยศาสตร์ เช่น เอเชียศึกษา ศาสนา ปรัชญา ศิลปะ ดนตรี เป็นต้น จากวารสารประมาณ 9,200 ชื่อ
ลักษณะข้อมูลที่ให้ : รายการบรรณานุกรม สาระสังเขป 
การแสดงผลข้อมูล : รูปแบบ HTML 
ระยะเวลาการใช้ : ถึงปัจจุบัน
จำนวนผู้มีสิทธิเข้าใช้ (User License) : สามารถสืบค้นข้อมูลได้ไม่จำกัดจำนวนผู้ใช้ 

ช่องทางการเข้าใช้บริการ :

1. ผ่านทางหน้าโฮมเพจของสำนักวิทยบริการ http://library.kku.ac.th เลือกE-Database เลือก ISI Web of Science เพื่อเข้าสู่หน้าจอค้นหา 
2. ผ่านทางเว็บไซต์ของ ISI Web of Science โดยตรงที่ 

ผู้มีสิทธิ์เข้าใช้ฐาน ได้แก

นักศึกษา อาจารย์ ข้าราชการ และบุคลากร มหาวิทยาลัยขอนแก่น

สถานที่เข้าใช้ฐาน
1. สามารถค้นหาได้จากทุกคณะ/หน่วยงาน/ ภาควิชา ภายในระบบเครือข่ายของมข.
2. กรณีค้นหาผ่านระบบเครือข่ายไร้สาย (Wireless LAN) หรือค้นหาจากนอกระบบเครือข่ายมข. เช่น ที่ บ้านหรือที่ทำงาน ต้องเข้าใช้โดย Login ผ่านระบบ SSL VPN ที่ http://vpn.kku.ac.th โดยใช้ Username และ Password ตัวเดียวกับ mail kku ที่ศูนย์คอมพิวเตอร์ออกให
ลักษณะข้อมูลที่ให้ : รายการบรรณานุกรม สาระสังเขป การแสดงผลข้อมูล : รูปแบบ HTML ระยะเวลาการใช้ : ถึงปัจจุบันจำนวนผู้มีสิทธิเข้าใช้ (User License) : สามารถสืบค้นข้อมูลได้ไม่จำกัดจำนวนผู้ใช้ 
ช่องทางการเข้าใช้บริการ :1. ผ่านทางหน้าโฮมเพจของสำนักวิทยบริการ http://library.kku.ac.th เลือกE-Database เลือก ISI Web of Science เพื่อเข้าสู่หน้าจอค้นหา 2. ผ่านทางเว็บไซต์ของ ISI Web of Science โดยตรงที่ 
ผู้มีสิทธิ์เข้าใช้ฐาน ได้แกนักศึกษา อาจารย์ ข้าราชการ และบุคลากร มหาวิทยาลัยขอนแก่น
สถานที่เข้าใช้ฐาน1. สามารถค้นหาได้จากทุกคณะ/หน่วยงาน/ ภาควิชา ภายในระบบเครือข่ายของมข.2. กรณีค้นหาผ่านระบบเครือข่ายไร้สาย (Wireless LAN) หรือค้นหาจากนอกระบบเครือข่ายมข. เช่น ที่ บ้านหรือที่ทำงาน ต้องเข้าใช้โดย Login ผ่านระบบ SSL VPN ที่ http://vpn.kku.ac.th โดยใช้ Username และ Password ตัวเดียวกับ mail kku ที่ศูนย์คอมพิวเตอร์ออกให




5.ฐานข้อมูลBioOne 

เป็นฐานข้อมูลที่รวบรวมวารสารอิเล็กทรอนิกส์ประมาณ 170 รายชื่อ จากสำนักพิมพ์ที่มีชื่อเสียงมากกว่า 129 สำนักพิมพ์ ทางสาขาวิชาชีววิทยา (Biological) นิเวศวิทยา (Ecological) วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม (Environmental Sciences) และสาขาที่เกี่ยวข้อง ให้ข้อมูลย้อนหลังตั้งแต่ปี 1998 – ปัจจุบัน ประกอบด้วยรายการทางบรรณานุกรม สาระสังเขป และเอกสารฉบับเต็มรูปแบบ HTML และ PDF
โดยสามารถเข้าใช้งาน ดังนี้ 1. URL สำหรับใช้งาน BioOne คือ http://www.bioone.org/



( พลอย: // กว่าจาหาข้อมูลมาเรียบเรียง มาใส่บล็อค งงมาก  ฮ่าๆ^^ )


 







วันศุกร์ที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

search engine


                   

เสิร์ชเอนจิน (search engine) คือโปรแกรมที่ช่วยในการสืบค้นหาข้อมูล โดยเฉพาะข้อมูลบนอินเทอร์เน็ตโดยครอบคลุมทั้งข้อความ รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว เพลง ซอฟต์แวร์ แผนที่ ข้อมูลบุคคล กลุ่มข่าว และอื่น ๆ ซึ่งแตกต่างกันไปแล้วแต่โปรแกรมหรือผู้ให้บริการแต่ละราย. เสิร์ชเอนจินส่วนใหญ่จะค้นหาข้อมูลจากคำสำคัญที่ผู้ใช้ป้อนเข้าไป จากนั้นก็จะแสดงรายการผลลัพธ์ที่มันคิดว่าผู้ใช้น่าจะต้องการขึ้นมา ในปัจจุบัน เสิร์ชเอนจินบางตัว เช่น กูเกิล จะบันทึกประวัติการค้นหาและการเลือกผลลัพธ์ของผู้ใช้ไว้ด้วย และจะนำประวัติที่บันทึกไว้นั้น มาช่วยกรองผลลัพธ์ในการค้นหาครั้งต่อ ๆ ไป

ประเภท Search Engine
1. Keyword Index   เป็นการค้นหาข้อมูล โดยการค้นจากข้อความในWeb Pageที่ได้ผ่านการสำรวจมาแล้ว จะอ่านข้อความ ข้อมูล อย่างน้อยๆ ก็ประมาณ ๒๐๐-๓๐๐ ตัวอักษรแรกของWeb Pageนั้นๆ โดยการอ่านนี้จะหมายรวมไปถึงอ่านข้อความที่อยู่ในโครงสร้างภาษา HTML ซึ่งอยู่ในรูปแบบของข้อความที่อยู่ในคำสั่ง Alt  ซึ่งเป็นคำสั่งภายใน TAG คำสั่งของรูปภาพ แต่จะไม่นำคำสั่งของ TAG อื่นๆ ในภาษา HTML และคำสั่งในภาษา JAVA มาใช้ในการค้นหา วิธีการค้นหาของ Search Engine ประเภทนี้จะให้ความสำคัญกับการเรียงลำดับข้อมูลก่อน-หลัง และความถี่ในการนำเสนอข้อมูลนั้น การค้นหาข้อมูล โดยวิธีการเช่นนี้จะมีความรวดเร็วมาก แต่มีความละเอียดในการจัดแยกหมวดหมู่ของข้อมูลค่อนข้างน้อย เนื่องจากไม่ได้คำนึงถึงรายละเอียดของเนื้อหาเท่าที่ควร แต่หากว่าต้องการแนวทางด้านกว้างของข้อมูล และความรวดเร็วในการค้นหา วิธีการนี้ก็ใช้ได้ผลดี
2. SubjectDirectories   การจำแนกหมวดหมู่ข้อมูล Search Engine ประเภทนี้ จะจัดแบ่งโดยการวิเคราะห์เนื้อหา รายละเอียด ของแต่ละWeb Page ว่ามีเนื้อหาเกี่ยวกับอะไร โดยการจัดแบ่งแบบนี้จะใช้แรงงานคนในการพิจารณาWeb Page ซึ่งทำให้การจัดหมวดหมู่ขึ้นอยู่กับวิจารณญาณของคนจัดหมวดหมู่แต่ละคนว่าจะจัดเก็บข้อมูลนั้นๆ อยู่ในเครือข่ายข้อมูลอะไร ดังนั้นฐานข้อมูลของ Search Engine ประเภทนี้จะถูกจัดแบ่งตามเนื้อหาก่อน แล้วจึงนำมาเป็นฐานข้อมูลในการค้นหาต่อไป การค้นหาค่อนข้างจะตรงกับความต้องการของผู้ใช้ และมีความถูกต้องในการค้นหาสูง เป็นต้นว่า หากเราต้องการหาข้อมูลเกี่ยวกับเว็บไซต์ หรือWeb Pageที่นำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ Search Engine ก็จะประมวลผลรายชื่อเว็บไซต์ หรือWeb Pageที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ล้วนๆ มาให้
3. Metasearch Engines   จุดเด่นของการค้นหาด้วยวิธีการนี้ คือ สามารถเชื่อมโยงไปยัง Search Engine ประเภทอื่นๆ และยังมีความหลากหลายของข้อมูล แต่การค้นหาด้วยวิธีนี้มีจุดด้อย คือ วิธีการนี้จะไม่ให้ความสำคัญกับขนาดเล็กใหญ่ของตัวอักษร และมักจะผ่านเลยคำประเภท Natural Language (ภาษาพูด) ดังนั้น หากจะใช้ Search Engine แบบนี้ละก็ ขอให้ตระหนักถึงข้อบกพร่องเหล่านี้ด้วย

การทำงานของ Search Engine  

ประกอบไปด้วย ๓ ส่วนหลัก ๆ คือ
๑. Spider หรือ Web Robot จะเป็นตัวที่ทำหน้าที่เข้าสำรวจเว็บไซต์ต่างๆ แล้วดึงข้อมูลเหล่านั้นมาอัพเดทใส่ในรายการฐานข้อมูล ส่วนมาก Spider มักจะเข้าไปอัพเดทข้อมูลเป็นรายเดือน
๒. ฐานข้อมูล (Database) เป็นส่วนที่เก็บรายการเว็บไซต์ ฐานข้อมูลที่ดีควรจะมีขนาดใหญ่เพียงพอที่จะรองรับกับการเติบโตของเว็บไซต์ในปัจจุบัน การออกแบบฐานข้อมูลที่ดีก็เป็นส่วนสำคัญเพราะถ้าฐานข้อมูลออกแบบมาทำงานช้าก็ทำให้การรอผลนานและจะไม่ได้รับความนิยมไปในที่สุด
๓.โปรแกรม Search Engine มีหน้าที่รับคำหรือข้อความที่ผู้ใช้งานป้อนเข้ามา แล้วเข้าค้นหาตามเว็บไซต์ต่างๆ ที่จัดเก็บไว้ในฐานข้อมูล จากนั้นก็จะรายงานผลเว็บไซต์ที่ค้นพบให้กับผู้ใช้ การสืบค้นด้วยวิธีนี้นอกจากจะต้องมีระบบการสืบค้นข้อมูลที่รวดเร็วและมีประสิทธิภาพแล้ว การกลั่นกรองผลที่ได้ เพื่อให้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ก็เป็นอีกส่วนหนึ่งที่สำคัญของการสืบค้นข้อมูล

วันพฤหัสบดีที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

วันพุธที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

ยินดีต้อนรับสู่บล็อคส่วนตัวของพลอยจีรา ^__^




ยินดีต้อนรับสู่บล็อกส่วนตัวของฉัน



ประวัติส่วนตัว

นางสาวจีรภรณ์  จอกทอง   ชื่อเล่นพลอยใส  
 เกิดวันจันทร์ ที่ 1 7 เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.2535 อายุ 20 ปี 
อาศัยอยู่ที่ อ.นาแก  จ.นครพนม
ศึกษาอยู่ที่ มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร  คณะมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ 
สาขา สารสนเทศศาสตร์  ชั้นปีที่ 2
Email:ploytomtom@hotmail.com
(ลิงค์Facebook)https://www.facebook.com/ploysaiij